บทความ

ระบบ AS/RS

รูปภาพ
                             ระบบจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติAS/RS                                    บบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ                                                           ระบบเทคโนโลยีกับการจัดการคลังสินค้า                ระบบเทคโนโลยีเพื่อการจัดการคลังสินค้า นอกจากจะใช้ระบบซอฟแวร์ในการบริหารคลังสินค้าแล้ว ปัจจุบันทุกคลังสินค้าได้นำระบบ  Barcode  มาใช้เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ทางธุรกิจ ซึ่งถือว่าเป็นระบบเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงมากในเรื่องการลดความผิดพลาด สามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจเช็คสินค้าโดยไม่ต้องใช้คนนับ ลดความผิดพลาดในการทำงานได้มาก นอกจากนี้ยังมีคลังสินค้าสมัยใหม่เป็นจำนวนมากที่เริ่มนำเทคโนโลยี  RFID (Radio Frequency Identification)  มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในคลังสินค้าให้สะดวก และรวดเร็ว ลดความผิดพลาดจากการทำงาน สามารถสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ภายในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการดำเนินงาน ลดความซ้ำซ้อนจากการทำงาน ระบบเทคโนโลยีที่ใช้กับคลังสินค้าสามารถแบ่งได้เป็น  4  ส่วน ดังนี้                           1.  เทคโนโลย

ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ

                                                     สายพานลำเลียง                                                 Conveyor Belts   คือ ระบบลำเลียงสินค้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยใช้สายพานลำเรียงในหน่วย ของการผลิต ระบบลำเลียงสินค้าก็เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ในรางกายมนุษย์ เพราะถ้าไม่มีเส้นเลือดร่างกายของเราจะไม่มีการหมุนเวียนเลือดนำเลือกเสียมา ฟอกให้กลายเป็นเลือดที่ดีได้ ซึ่งระบบลำเลียงจะต้องทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เช่นนั้นส่วนอื่นๆ ก็ไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน ระบบลำเลียงแบบสายพานที่มีประสิทธิภาพสูงถูกออกแบบมาสำหรับผลิตภัณฑ์หลากหลาย ชนิด เช่น อาหาร หรือ สินค้าที่มีน้ำหนักเบาอื่น ๆ สายพานประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งระบบอัตโนมัติ เหมาะสำหรับ LINE ที่มีความยาว หรือสำหรับการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการต่างๆ เพื่อลดต้นทุนการผลิต ระบบลำเลียงสินค้าเปรียบเสมือนระบบประสาทส่วนกลางสำหรับการดำเนินงานของคุณ มันต้องทำงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ทุกอย่างสามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิผลมากที่สุด จุดมุ่งหมายหลักของระบบสายพานลำเลียง คือ ช่วยในกระบวนการต่างๆ ใ

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

หุ่นยนต์เคลื่อนย้ายสินค้าอัจฉริยะ     หุ่นยนต์อัจฉริยะสำหรับโลจิสติกส์ (Robotics for Logistics)  เพื่องานขนถ่าย-เคลื่อนย้ายของแบบอัตโนมัติในคลังสินค้า ตอบโจทย์ระบบการหยิบสินค้า (Picking System) ทำให้การทำงานหยิบชิ้นงานหรือสินค้าแบบต่อเนื่องเป็นเรื่องง่าย ทำได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ จึงทำให้การบริหารคลังสินค้าที่มีออเดอร์และรายการสินค้าจำนวนมากมีประสิทธิภาพสูงสุด เหมาะสำหรับธุรกิจสินค้าอี-คอมเมิร์ซ (E-Commerce) หรือสินค้าออนไลน์, คลังชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีหลากหลายชนิด, และสินค้าอุปโภคบริโภคหรือเวชภัณฑ์ โดยสามารถใช้ได้ทั้งในอุตสาหกรรมผลิต ศูนย์กระจายสินค้าโลจิสติกส์ รวมถึงซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ ด้วยซอฟท์แวร์ IWMS ที่ใช้สมองกลอัจฉริยะ (AI) ในการทำงาน, ระบบการเคลื่อนย้าย (Moving System) ที่ตอบโจทย์การลำเลียงสินค้าในไลน์การผลิตจาก-ในคลังสินค้า, และระบบการจำแนก (Sorting System) สู่จุดหมายปลายทางที่ถูกต้อง จุดประสงค์การวิเคราะห์ ของหุ่นยนต์อัจฉริยะ : ทำให้การทำงานหยิบชิ้นงานหรือสินค้าแบบต่อเนื่องเป็นเรื่องง่าย ทำได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ จึงทำให้การบริหารคลังสินค้าที่มีออเดอร์และรา

เครื่องจักร NC CNC DNC

รูปภาพ
เครื่องจักร NC NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. เครื่องจักร CNC     CNC ย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึง การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบอิเลคทรอนิกส์ จะทำการประมวลผล และ สั่งการเพื่อให้เครื่องจักรทำงาน หรือ เกิดการเคลื่อนที่จากชุดคำสั่งต่าง ๆ หรือ กระทำตามเงื่อนใขที่ถูกกำหนด หลักการทำงาน ของ CNC การผลิตชิ้นงานจะถูกควบคุมการสั่งการด้วย Computer ประกอบด้วย ระยะของการเคลื่อนที่ต่างๆ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น หัวกัด Print head ใน 3d Printer ซึ่งจะถูก
                                                             บทความเทคโนโลยีสื่อสาร   การสื่อสารไร้สาย  ( อังกฤษ :  Wireless communication ) หมายถึงการถ่ายโอนข้อมูลสารสนเทศระหว่างจุดสองจุดหรือมากกว่า โดยไม่ได้เชื่อมต่อกันด้วยตัวนำไฟฟ้า เทคโนโลยีไร้สายที่พบมากที่สุดใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ ซึ่งอาจใช้ในระยะทางสั้นๆไม่กี่เมตรสำหรับโทรทัศน์ หรือไกลเป็นล้านกิโลเมตรลึกเข้าไปในอวกาศสำหรับวิทยุ การสื่อสารไร้สายรวมถึงหลากหลายชนิดของการใช้งานอยู่กับที่, เคลื่อนที่และแบบพกพา ได้แก่ วิทยุสองทาง, โทรศัพท์มือถือ, ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว (personal digital assistants หรือ PDAs) และ เครือข่ายไร้สาย  ตัวอย่างอื่น ๆ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิทยุไร้สายรวมถึง GPS, รีโมตประตูโรงรถ เม้าส์คอมพิวเตอร์ไร้สาย, แป้นพิมพ์และชุดหูฟังไร้สาย, หูฟังไร้สาย, เครื่องรับวิทยุไร้สาย, โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมไร้สาย, เครื่องรับโทรทัศน์ทั่วไปและโทรศัพท์บ้านไร้สาย วิธีการอื่นของการสื่อสารไร้สายที่ไม่ได้ใช้คลื่นวิทยุได้แก่ การใช้แสง, เสียง, สนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี